หากมีอาการเหล่านี้ เสี่ยงเป็น โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
Share: facebook_share line_share twitter_share messenger_share

หากมีอาการเหล่านี้ เสี่ยงเป็น โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ


หยุดเถอะ คำว่า เอาไว้ก่อน ใช้ไม่ได้กับการอั้นฉี่ ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเอาซะเลย เสี่ยงเป็น โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) น้ำมันมะพร้าวแคปซูล สามารถ บรรเทาอาการของโรคนี้ได้หรือไม่

 

ปัจจัยเสี่ยง ของการเกิด โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ทำให้เชื้อโรคในปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) สุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศ หากละเลย ดูแลไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะเพศหญิง สามารถติดเชื้อจากช่องคลอด และ ทวารหนักได้

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) การทำความสะอาดช่องคลอดด้วยยาปฏิชีวนะ ทำให้แบคทีเรีย ที่บริเวณช่องคลอด โดนกำจัดออกไป สามารถติดเชื้อได้ง่ายขึ้น

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) ฮอร์โมน ความเปลี่ยนแปลง ของเพศหญิงในวัยหมดประจำเดือน เมื่อฮอร์โมนเพศหญิงลดลงทำให้ความชุ่มชื้นบริเวณเยื่อบุช่องคลอด และ เยื่อบุท่อปัสสาวะลดลง ประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อโรค ย่อมลดลงเช่นกัน

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากควบคุมโรคได้ไม่ดี โอกาสเสี่ยงติดเชื้อได้ง่าย เนื่องจากร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำ

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) ผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยากดภูมิต้านทาน

 

 

โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis )

 

     การติดเชื้อแบคทีเรีย ที่มีอยู่ในระบบทางเดินปัสสาวะ ( Urinary Tract Infection : UTI ) ส่วนใหญ่เกิดกับ เพศหญิง มากกว่า เพศชาย เนื่องจากท่อปัสสาวะของเพศหญิงจะสั้น และ อยู่ใกล้ทวารหนัก ซึ่งเป็นแหล่งที่มีเชื้อโรคมาก เชื้อโรค สามารถเข้าทางท่อปัสสาวะได้ง่ายกว่าผู้ชาย

 

อาการของ โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis )

 

     1. ปัสสาวะทีละนิด ค่อยๆ ไหล แต่กลับมีอาการปวดปัสสาวะอยู่เป็นระยะ

     2. ปวดบริเวณท้องน้อย หรือ หัวหน่าว อาการแสบ ในตอนที่กำลังจะปัสสาวะสุด

     3. น้ำปัสสาวะขุ่น ส่งกลิ่นผิดปกติ ต่างไปจากเดิม เด็กเล็ก อาจมีอาการปัสสาวะ รดที่นอน และ มีไข้ อาเจียน เบื่ออาหารร่วมด้วย

 

 

ช่วงที่มีแนวโน้มในการติดเชื้อ เสี่ยงเป็น โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis )

     ช่วงตั้งครรภ์ มดลูกมีการขยายตัว และ กดทับบริเวณกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งทำให้ไม่สามารถถ่ายปัสสาวะจนหมดกระเพาะปัสสาวะได้ หรือ วัยหมดประจำเดือนระดับภูมิคุ้มกันที่ต่ำลง

 

วิธีการป้องกัน โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis )

1. รักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล

2. หลังใช้ห้องสุขา ให้เช็ดทำความสะอาดจากปากช่องคลอดไปที่ทวารหนัก ( จากด้านหน้าไปด้านหลัง )

3. รักษาสุขอนามัยทางเพศ และ ล้างทำความสะอาดกระเพาะปัสสาวะ หลังจากมีเพศสัมพันธ์

4. หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ สบู่เหลว ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดช่องคลอดที่มีส่วนผสมของน้ำหอม

5. หลีกเลี่ยงการสวมใส่กางเกงที่รัดเกินไป หรือ กางเกงที่ระบายอากาศไม่ดี ทั้งนี้รวมถึงกางเกงชั้นในด้วย

6. ดื่มน้ำมากๆ

7. หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน

8. เตรียมพร้อมในการเข้ารับการตรวจวินิจฉัย และ รักษา

 

การรักษา โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis )

- ผู้ป่วยควรทานยาปฏิชีวนะ ให้ครบทั้งหมดตามที่แพทย์สั่ง โดยไม่มีการเว้นช่วง แบคทีเรียอาจจะดื้อยา และทำให้ต้องใช้ยาปฏิชีวนะที่แรงและ นานขึ้น เพื่อที่จะกำจัดแบคทีเรีย

- ผู้ป่วยควรดื่มน้ำมากๆ หากมีปริมาณปัสสาวะที่มากพอ ปัสสาวะจะช่วยล้างแบคทีเรียออกจากท่อปัสสาวะได้

- ผู้ป่วย นิ่วในท่อปัสสาวะ ( นิ่วในท่อไต )  และ โรคเบาหวาน การรักษาที่ถูกวิธี ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) ได้

 

แคปซูล น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นผสมน้ำมันงาขี้ม้อน ( Coconut Oil Capsule )

     มีส่วนผสมจาก น้ำมันมะพร้าว ( coconut oil ) ตัวช่วยบรรเทาอาการ โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) อีกทั้งยังมี โอเมก้า 3 จากน้ำมันงาขี้ม้อน ตัวช่วยเร่งการเผาผลาญพลังงาน ย่อยง่าย และ สามารถนำไปสร้างพลังงานได้ในทันที

 

     น้ำมันมะพร้าว ( coconut oil ) บรรเทาอาการ โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) เนื่องจากสารสกัดจาก น้ำมะพร้าว นำมาผ่านกระบวนการ แปรรูปมาอยู่ในรูปแบบแคปซูล ทำให้ผู้ป่วย โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ ( Cystitis ) ทานได้ง่าย สะดวก เพียงทานวันละ 2 - 3 เม็ด ก่อนทานอาหาร 

 

อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่

บำรุงโรคกระดูกด้วยน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นแคปซูล

แคปซูลน้ำมันมะพร้าว ต่อสู้ มะเร็ง